fbpx

ผู้ยื่นคําขอยื่นคําขอและเอกสารหลักฐานประกอบการพิจารณา

คำขอและเอกสารประกอบการพิจารณา

การตรวจสอบเอกสารเจ้าหน้าที่ตรวจสอบความครบถ้วนของคําขอและเอกสารหลักฐานประกอบการพิจารณา
เจ้าหน้าที่ผู้ประเมิน/คณะประเมิน/ผู้เชี่ยวชาญดําเนินการประเมินความความถูกต้องและสอดคล้องตามกฎหมายด้านเอกสาร รวมทั้งผลการตรวจประเมินสถานที่ผลิตและเก็บอาหาร หมายเหตุ:

  1. กรณีเอกสารไม่ถูกต้องหรือไม่สอดคล้องตามกฎหมายหรือไม่สอดคล้องตามรายละเอียดที่ระบุไว้ในคู่มือสําหรับประชาชนให้ผู้ยื่นคําขอดําเนินการแก้ไขข้อบกพร่องกับเจ้าหน้าที่ภายในเวลาที่กำหนด
  2. ไม่นับรวมระยะเวลาการแก้ไขรายละเอียดของผู้ประกอบการ
  3. กรณีสถานที่ผลิตอาหารตั้งอยู่ต่างจังหวัดและผลิตอาหารที่มีการมอบอานาจให้สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดเป็นผู้อนุญาตระยะเวลาการพิจารณาให้เป็นไปตามคู่มือสําหรับประชําชนของสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดที่กําหนดไว้ แบบตรวจสอบคําขอและบันทึกข้อบกพร่องขอรับเลขสถานที่ผลิตอาหารที่ไม่เข้าข่ายโรงงานตามแบบ สบ.1 คำขอรับเลขสถานที่ผลิตอาหารที่ไม่เข้าข่ายโรงงานตามแบบ สบ.1 บัตรประจําตัวประชาชนของผู้ดําเนินกิจการ สําเนาทะเบียนบ้านของผู้ดําเนินกิจการ ใบทะเบียนการค้าหรือใบทะเบียนพําณิชย์ (เฉพาะกรณีเป็นบุคคลธรรมดา) หนังสือรับรองกํรจดทะเบียนนิติบุคคล(เฉพาะกรณีเป็นนิติบุคคล)ฉบับจริง1ชุดสําเนํา1ชุ หมายเหตุ(ต้องมีครบทุกหน้ามีวัตถุประสงค์เกี่ยวกับการผลิตอาหารและคัดลอกสําเนาจากกระทรวงพาณิชย์ไว้ไม่เกิน6 เดือน) สําเนาหนังสือบัญชีรายชื่อผู้ถือหุ้น(บอจ.5) หนังสือมอบอํานาจและแต่งตั้งผู้ดําเนินกิจการ(เฉพาะกรณีเป็นนิติบุคคล) สำเนาทะเบียนบ้านของสถานที่ผลิตและที่เก็บอาหารฉบับจริง 1ชุด หนังสือยินยอมให้ใช้สถานที่ฉบับจริงหรือสําเนาสัญญาเช่าสถานที่ผลิตและสถานที่เก็บอาหาร (กรณีที่ผู้ดําเนินกิจการไม่ได้เป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์) แบบฟอร์มรายงานผลการตรวจประเมินสถานที่ผลิตอาหารตามหลักเกณฑ์ GMP กฎหมาย (Audit Report) แผนที่ตั้งของสถานที่ผลิตและเก็บอาหาร ที่ได้รับการอนุมัติและประทับตราจากหน่วยงานที่ตรวจประเมินสถานที่ผลิตและเก็บอาหารฉบับจริง1ชุด สําเนา 1ชุด หมายเหตุ 1.ต้องระบุสิ่งปลูกสร้างบริเวณใกล้เคียงแสดงชื่อถนนและจุดสังเกตของสถานที่ที่ขออนุญาตเช่นวัดโรงเรียนเป็นต้น 2.ต้องระบุชื่อบริษัทเลขที่ตั้งและลงลายมือชื่อโดยผู้ดําเนินกิจการหรือกรรมการที่มีอำนาจลงนามตามหนังสือรับรองของนิติบุคคลหรือผู้รับมอบอํานาจทั่วไปที่มีอํานาจลงนามรับรองเอกสารทุกแผ่น แผนผังแสดงตําแหน่งพร้อมประโยชน์ใช้สอยของอาคารต่างๆในบริเวณที่ตั้งของสถานที่ผลิตและเก็บอาหารและบริเวณข้างเคียง ที่ได้รับการอนุมัติและประทับตราจากหน่วยงานที่ตรวจประเมินสถานที่ผลิตและเก็บอาหารฉบับจริง1ชุดสําเนา1ชุด หมายเหตุ
    1. ต้องระบุสิ่งปลูกสร้างบริเวณเช่นโรงอาหารอาคารสํานักงานหรือที่ตั้งของบริษัทอื่นเป็นต้น
      2.ต้องระบุชื่อบริษัทเลขที่ตั้งและลงลายมือชื่อโดยผู้ดําเนินกิจการหรือกรรมการที่มีอํานาจลงนามตามหนังสือรับรองของนิติบุคคลหรือผู้รับมอบอํานาจทั่วไปที่มีอํานาจลงนามรับรองเอกสารทุกแผ่น
      แผนผังอาคารด้านหน้า ที่ได้รับกํรอนุมัติและประทับตราจากหน่วยงานที่ตรวจประเมินสถานที่ผลิตและเก็บอาหารฉบับจริง1ชุดสําเนา 1ชุด หมายเหตุ
      1.ต้องแสดงระยะและมาตราส่วนให้ถูกต้องแสดงชนิดของวัสดุที่ใช้ในส่วนของฝําผนังพื้นประตู หน้าต่าง และหลังคา เป็นต้น
      2.ต้องระบุชื่อบริษัทเลขที่ตั้งและลงลายมือชื่อโดยผู้ดําเนินกิจการหรือกรรมการที่มีอํานาจลงนามตามหนังสือรับรองของนิติบุคคลหรือผู้รับมอบอํานาจทั่วไปที่มีอํานาจลงนามรับรองเอกสารทุกแผ่น
      แผนผังอาคารด้านข้าง ที่ได้รับการอนุมัติและประทับตราจากหน่วยงานที่ตรวจประเมินสถานที่ผลิตและเก็บอาหารฉบับจริง1ชุดสําเนา 1ชุด หมายเหตุ
      1.ต้องแสดงระยะและมาตราส่วนให้ถูกต้องแสดงชนิดของวัสดุที่ใช้ในส่วนของฝําผนังพื้นประตูหน้าต่างและหลังคาเป็นต้น
      2.ต้องระบุชื่อบริษัทเลขที่ตั้งและลงลายมือชื่อโดยผู้ดําเนินกิจการหรือกรรมการที่มีอํานาจลงนามตามหนังสือรับรองของนิติบุคคลหรือผู้รับมอบอำนาจทั่วไปที่มีอํานาจลงนามรับรองเอกสารทุกแผ่น
      แผนผังอาคารด้านตัดขวาง ที่ได้รับการอนุมัติและประทับตราจากหน่วยงานที่ตรวจประเมินสถานที่ผลิตและเก็บอาหารฉบับจริง1ชุดสําเนา 1ชุด
      แบบแปลนพื้นทุกชั้นที่ได้รับการอนุมัติและประทับตราจากหน่วยงานที่ตรวจประเมินสถานที่ผลิตและเก็บอาหารฉบับจริง1ชุดสําเนา 1ชุด หมายเหตุ
      (ต้องแสดงระยะและมาตรํส่วนให้ถูกต้องโดยแสดงสัญลักษณ์เช่นผนังประตูหน้าต่างเส้นทางเข้า-ออกพนักงาน, ทางเข้าวัตถุดิบและบรรจุภัณฑ์ และทางออกผลิตภัณฑ์, แสดงการแบ่งกั้นห้องหรือเนื้อที่หรือบริเวณโดยแยกเป็นสัดส่วนสําหรับการผลิตอาหารแต่ละประเภท
      และเป็นไปตามสายงานการผลิต แล้วแต่กรณีและความเหมาะสมของแต่ละผลิตภัณฑ์ รวมทั้งแสดงรายละเอียดเพิ่มเติม ดังนี้
    2. แสดงตําแหน่งการวางเครื่องจักรอุปกรณ์การผลิต ที่สอดคล้องกับรายการเครื่องจักร
    3. มีการแบ่งกั้นห้องหรือบริเวณเก็บวัตถุดิบ เตรียมวัตถุดิบ
    4. มีการแบ่งกั้นห้องหรือบริเวณเก็บภาชนะบรรจุ
    5. มีการแบ่งกั้นห้องหรือบริเวณเก็บผลิตภัณฑ์
    6. มีการแบ่งกั้นห้องหรือบริเวณปรุงผสม
      6.ห้องหรือบริเวณสําหรับฆ่าเชื้อหรือวิธีการอื่นๆเช่นผ่านความร้อนหรือแช่เย็นหรือแช่แข็งหรือทําให้แห้งแล้วแต่กรณี
    7. มีการแบ่งกั้นห้องหรือบริเวณบรรจุ (กรณีผลิตน้ำบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิทต้องมีห้องบรรจุโดยเฉพาะ)
      8.มีการแบ่งบริเวณก่อนฆ่าเชื้อและหลังการฆ่าเชื้ออย่างชัดเจน(กรณีการผลิตอาหารในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิทตามประกาศ สธ ฉบับที่ 349)
    8. มีการแบ่งกั้นห้องหรือบริเวณ ปิดฉลาก
    9. มีการแบ่งกั้นห้องหรือบริเวณล้างทําความสะอาดอุปกรณ์หรือภาชนะ และห้องหรือบริเวณเก็บอุปกรณ์หรือภาชนะก่อนและหลังใช้
      11.มีห้องหรือตู้สําหรับเก็บสารเคมีทําความสะอาดหรือวัตถุมีพิษ
    10. แสดงตําแหน่งอ่างล้างมือบริเวณผลิต และบริเวณเปลี่ยนชุด รองเท้าพนักงาน
      13.แสดงตําแหน่งห้องส้วมอ่างล้างมือที่เหมาะสมและไม่เปิดสู่บริเวณผลิตโดยตรง
    11. แสดงตําแหน่งบันไดหรือลิฟท์ (ถ้ามี)
    12. ตําแหน่งท่อหรือทํางระบายน้ำ
      เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการผลิตอื่นๆฉบับจริง1ชุดสําเนา 1ชุด หมายเหตุ เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการผลิตอื่นๆ ได้แก่
      1.รายการเครื่องจักรเครื่องใช้ไฟฟ้าอุปกรณ์การผลิตที่ใช้ไฟฟ้าหรือใช้ความร้อนจากเชื้อเพลิงต่ํางๆเช่นแก๊สโดยระบุแรงม้าเปรียบเทียบแต่ละรายการ และแสดงแรงม้ารวม
      2.กรรมวิธีการผลิตอาหารทุกประเภทที่ยื่นขอโดยละเอียดเช่นแสดงอุณภูมิและเวลาที่ใช้เป็นต้นและแผนภูมิกรรมวิธีการผลิตที่สอดคล้องกับเครื่องจักรที่แสดงไว้ในแปลนพื้นและในรายการเครื่องมือเครื่องจักร โดยต้องระบุหมายเลขเครื่องจักรในกระบวนการผลิตด้วย
      3.ที่มาของน้ำที่ใช้ในการผลิต เช่น น้้ำที่ใช้เป็นส่วนผสมในอาหาร น้้ำที่ใช้ผลิต/น้ำที่ใช้ผลิตไอน้ำหรือไอน้ำที่สัมผัสอาหาร/น้ำแข็งที่ใช้ผสมหรือสัมผัสอาหาร/น้ำที่ใช้ล้างภาชนะบรรจุอุปกรณ์และเครื่องจักรต่างๆ(แจ้งกรรมวิธีการปรับคุณภาพของน้ำ)
      4.สูตรส่วนประกอบของอาหารเป็นร้อยละของน้ำหนัก(สูตรคิดเป็น100%)และแสดงที่มาของวัตถุดิบแต่ละรายการเช่นเลขสารบบอาหาร(เลข อย.) หรือ Specification หรือ COA หรืออื่นๆ กรณีที่วัตถุดิบไม่มีเลข อย.หรือ Specification
      หรือ COA ต้องจัดทํารายละเอียดวิธีการคัดเลือกวัตถุดิบนั้นๆ
    13. ประเภทและชนิดของอาหารที่จะผลิต
    14. ชนิดภาชนะบรรจุ (ชนิด,ขนาด,สี)แจ้งชนิดและสีของฝํา(ถ้ามี)
      7.วิธีการบริโภคและวิธีการใช้
    15. ปริมาณการผลิตอาหารแต่ละชนิดต่อวันต่อสัปดาห์หรือต่อเดือนแล้วแต่กรณี
    16. กรรมวิธีการล้ํางเครื่องจักรและอุปกรณ์การผลิต รวมถึงภาชนะบรรจุ (ถ้ามี)พร้อมแจ้งสารที่ใช้ในการล้างทําความสะอาดด้วยหากใช้เครื่องมือเครื่องจักรอุปกรณ์การผลิตร่วมกันสําหรับการผลิตอาหารหลายชนิด
      ต้องมีมาตรการป้องกันการปนเปื้อนที่เหมาะสมเพิ่มเติม เช่นคู่มือการทําความสะอาดการทดสอบความสะอาด(Swap Test/Rinse Test)การทดสอบการตกค้างของสารเคมีที่ใช้ทําความสะอาด
    17. หากมีผลิตอาหารแห้งหรือผง ที่มีค่ํา AW ต่ํา ต้องมีเอกสารมาตรการป้องกันความชื้นหรือสภาวะของห้องบรรจุ (ตามความจําเป็น)
    18. วิธีการกําจัดขยะมูลฝอย (ความถี่)
    19. จํานวนคนงานชาย-หญิง(การแต่งกาย,จํานวนห้องน้ํา, จํานวนอ่างล้างมือหน้าหรือในห้องส้วม